framingtonco.com

ระบบ งบประมาณ แบบ แสดง รายการ Line Item Budgeting / Ppt - ระบบงบประมาณแบบ แสดงรายการ (Line Items Budgeting System) Powerpoint Presentation - Id:6170194

ปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและวิธีการบริหารงานของภาครัฐ 2. ปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ การเงิน และการพัสดุ 3. ปรับเปลี่ยนระบบบริหารบุคคล 4. ปรับเปลี่ยนกฎหมาย 5. ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม จากนโยบายของรัฐบาลในการปฏิรูประบบงบประมาณตามข้อ 2 สำนักงบประมาณจึงได้มอบหมายให้บริษัทที่ปรึกษา KPMG BARENTS ทำการศึกษาระบบการจัดการงบประมาณและได้มีข้อเสนอแนะให้จัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (PERFORMANCE BASED BUDGETING) และต่อมาคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อ 11 พฤษภาคม 2542 เห็นชอบแผนปฏิรูประบบบริหารงานภาครัฐ ซึ่งการปรับระบบงบประมาณให้เป็นแบบมุ่งเน้นผลงาน ก็เป็นส่วนหนึ่งของแผนดังกล่าวด้วย ลักษณะของงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน 1. มุ่งเน้นผลงานและผลผลิ ต การจัดทำงบประมาณในตอนแรกจัดทำแบบแสดงรายการ (Line-Item Budgeting) ซึ่งเน้นการควบคุมทรัพยากรมากกว่าผลสำเร็จในการผลิตผลผลิต ดังนั้น จึงควรปรับระบบงบประมาณเป็นแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Base Budgeting) เป็นระบบการจัดการที่มุ่งเน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการใช้งบประมาณในการพัฒนาประเทศ ผ่านองค์กรของรัฐบาลต่าง ๆ โดยมอบและกระจายอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณให้กับผู้ที่ใช้งบประมาณโดยอิสระ แต่ในขณะเดียวกันผู้ใช้งบประมาณจะต้องมีความรับผิดชอบจากการใช้งบประมาณของประเทศด้ว ย 2.

ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน - GotoKnow

3 การควบคุมงบประมาณ หน่วยงานกลางจะกระจายอำนาจในการบริหารงานให้แก่หน่วยปฏิบัติ โดยเน้นการติดตามผลการดำเนินงาน (Performance) แทนการควบคุมปัจจัยนำเข้า (Input) หน่วยงานปฏิบัติจะเพิ่มความรับผิดชอบมากขึ้นในการบริหารงานทั้งในการบริหารปัจจัยนำเข้า การบริหารดูแลงบประมาณที่ได้รับ โดยคำนึงถึงผลผลิต ผลลัพธ์ที่ต้องดำเนินการ 5.

การคำนวณต้นทุนผลผลิต (Outputs Costing) การกำหนดค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการผลิต เพือให้ได้ผลผลิตอย่างมีคุณภาพตามที่กําหนดอันจะสอดคล้องกับการจัดสรรงบประมาณที่เน้นผลผลิตและต้นทุนของผลผลิต มีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ - กำหนดกระบวนการที่ก่อให้เกิดผลผลิต - จำแนกต้นทุนตามกระบวนการ - กระจายต้นทุนที่เกิดขึ้นตามกระบวนการเข้าสู่ผลผลิต - คำนวณต้นทุนต่อหน่วยของผลผลิตตามเกณฑ์เงินสด /คงค้าง 3. การบริหารการจัดหา ( Procurement Management) การบริหารการจัดหา ให้มีประสิทธิภาพ รัดกุม โปร่งใส ตรวจสอบได้ และมีความถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 4. การบริหารทางการเงินและการควบคุมงบประมาณ (Financial Management/Fund Control) เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารทางการเงินและงบประมาณให้มีมาตรฐานเดียวกันผ่านระบบการเงินและบัญชี ที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับการควบคุมงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ้งเน้นผลงาน (ผลผลิตและผลลัพธ์) โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน 4. 1 การบริหารงบประมาณ เป็นการจัดทำแผนการใช้จ่ายเงินและกําหนดพัฒนามาตรฐานการบริหารการเงิน และการควบคุมภายในที่โปร่งใสเป็นธรรม 4.

11 ขอขอบคุณ 12

บทที่ 7 งบประมาณแผ่นดิน images, นางสาวกชามาศ คำสุข 613820116 -… Coggle

PPT - ระบบงบประมาณแบบ แสดงรายการ (Line Items Budgeting System) PowerPoint Presentation - ID:6170194

การบริหารสินทรัพย์ (Asset Management) จุดประสงค์ของการบริหารสินทรัพย์นั้นเพี่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากการใช้สินทรัพย์ที่มีอยู่ โดยการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายโดยรวม การสำรวจสถานะของสินทรัพย์ที่มีอยู่และการลดความต้องการของสินทรัพย์ใหม่ที่ไม่จำเป็นผ่านระบบการวางแผนที่เป็นระบบ โดยต้องมีการจัดทำข้อมูลสินทรัพย์ของหน่วยงาน วางแผนการบริหารสินทรัพย์ และจัดทำระเบียบและขั้นตอนภายในหน่วยงานที่สนับสนุนให้เกิดการใช้สินทรัพย์อย่างคุ้มค่า 7. การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) เป็นการควบคุมการใช้งบประมาณและปรับปรุงการดำเนินงานไห้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยหน่วยตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ควรมีการพัฒนาโครงสร้างการบริหารจัดการและระบบตรวจสอบภายในใหม่ มีการวางแผนการตรวจสอบเพี่อให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและประหยัด โดยสามารถแบ่งการตรวจสอบเป็น 3 ประเภท คือ ตรวจสอบผลการดำเนินงาน ตรวจสอบการบริหารจัดการทางการเงิน และตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบ;//

  • บทที่ 7 งบประมาณแผ่นดิน images , นางสาวกชามาศ คำสุข 613820116 -…
  • ขายทาวน์เฮาส์ 3 ชั้น 19 ตร. ว. ลาดพร้าว 15 จตุจักร ใกล้ MRT | Kaidee Property
  • ตาราง สอบ cpa 3 2560 videos
  • ราคา ที่ชาร์จ Huawei พร้อมโปรโมชั่นราคาพิเศษ ก.ค. 2021
  • กุหลาบจากสบู่เป็นของขวัญวาเลนไทน์ - YouTube
  • เตา อบ ไฟฟ้า sharp 70 ลิตร
  • เพ ร ช ฆาต ดาว โจร
  • วา เล เรียน ดู หนัง ออนไลน์
  • พฤติกรรม การ บริโภค กาแฟ ของ ผู้ บริโภค
  • นี่มันพัดลมหรือหอดูดาว? พัดลม x เครื่องฟอกอากาศ dyson pure cool me กับความเย็นระดับ10! | #beartai
  • ตรวจ หวย 16 เมษายน 2562 mthai
  • เบาะ vip hyundai h1 มือ สอง 2017

ความโปร่งใสและการรายงา น โครงสร้างการรายงานผลทางการเงินในปัจจุบันไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ยืนยันสถานะทางการเงินของส่วนราชการ นอกจากนี้ยังมีการกำหนดพื้นฐานการรายงานไว้เพียงเล็กน้อยที่สามารถนำมาใช้ในการประเมินผล เช่นการรายงานผลประจำปี จึงควรมีการกำหนดกรอบการรายงานผลประจำปีและการรายงานผลทางการเงินที่สอดคล้องกับการกระจายความรับผิดชอบในการจัดทำงบประมาณ ทั้งนี้ควรทำควบคู่กับการกระจายความรับผิดชอบ 3. กระจายความรับผิดชอบในการจัดเตรียมงบประมาณแก่หน่วยราชก าร กระบวนการงบประมาณปัจจุบันเป็นแบบรวมศูนย์อยู่ที่หน่วยงานกลาง ทำให้หน่วยงานราชการขาดความรู้สึกเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วมในความสำเร็จ ดังนั้น จึงควรมีการปฏิรูปกระบวนการจัดทำงบประมาณโดยให้หน่วยราชการเป็นผู้จัดเตรียมรายละเอียดงบประมาณ ให้อยู่ในกรอบเป้าหมายที่กำหนดจากหน่วยงานกลา ง 4. กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง (MTEF) เนื่องจากกระบวนการวางแผนงบประมาณในปัจจุบันเป็นการวางแผนแบบปีต่อปี ซึ่งยังไม่มีการคำนึงถึงการวางแผนระยะปานกลางทางที่ปรึกษาจึงเสนอให้มีการทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (Medium Term Expenditure Framework) หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า MTEF ซึ่งจะมีการวางแผนการใช้จ่ายเงิน ๔ ปี (งบประมาณปีที่ขอตั้ง + ประมาณการรายจ่ายปีถัดไปอีก ๓ ปี) ทั้งนี้เพื่อประสิทธิภาพในการจัดสรรงบประมาณ 5.

กระทรวง/กรม ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ยุทธศาสตร์ ชุมชน Development Contract แผนปฏิบัติการ (คำของบประมาณ ของจังหวัด Area Function Local Gov Private Sector แหล่งงบประมาณเพื่อการพัฒนาจังหวัด แหล่งงบประมาณเพื่อการพัฒนาจังหวัด Function งบประมาณ กระทรวง กรม โครงการพัฒนา งบดำเนินการ Area Collaborative งบประมาณจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด งบลงทุนภาคเอกชน โครงการพัฒนา งบประมาณตามแผน ชุมชน(อยู่ดีมีสุข) งบประมาณองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น People Partnership 1.

  1. หัว เป่า ลม แรง ดัน สูง
  2. แจ็ ค มิ ล เลอ ร์
  3. ย้อน ผล บอล เมื่อ คืน นี้
  4. ไม ค์ หมด หนี้ นัก ร้อง นำ โชค